-
-
จรรยาบรรณโหรฯ
-
ธาตุ โหราศาสตร์ไทย
-
ความหมายดาว
-
ความหมายดาวคู่
-
ตำแหน่งดาวมาตราฐาน
-
ความหมายภพ/เรือน
-
ลัคนาราศี
-
การผูกดวงชะตา
-
ตนุลัคน์
-
ตนุเศษ
-
กฎเกณฑ์ทางโหราฯ
-
ดูดวงจาก..
-
ดูดวงจาก ธาตุ
-
ดูดวง จากเวลาเกิด
-
ดูดวงจาก วันเกิด
-
ดูดวงจาก วันที่เกิด
-
ดูดวงจาก ลัคนาหรือราศี ?
-
ดูดวงจาก ลัคนา/ราศี
-
ดูดวงจาก เลขทะเบียนบ้าน
-
ดุดวงจาก เลขบัตรประชาชน
-
ดูดวงจาก ตำราพรหมซาติ
-
ดูดวงจาก ปีนักษัตร
-
ดูดวงจาก ปีนักษัตร
-
ดูดวงจากกรุ๊ปเลือด
-
ดูดวงจาก นรลักษณ์ ศ.
-
ดูดวง จากกรุ๊ปเลือด
-
ดูดวงจาก ตำราเศษมอญ
-
ดูดวงจาก ตำราตรีภพ
-
ดูดวงจาก เศษพระจอมเกล้า
-
-
สรรหามาให้อ่าน
-
ตำนานดาว
-
ตำนานซาติเวร
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๑
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๒
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๓
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๔
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๕
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๖
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๗
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๘
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๙
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๑๐
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๑๑
-
ตำนานซาติเวร เรื่องที่ ๑๒
-
ตำนานชาติเวร เรื่องที่ ๑๓
-
ซาติเวรพระอังคาร(๓)
-
ซาติเวรพระพุธ(๔)
-
-
ดาวกุมลัคน์
-
ดาวในราศีต่างๆ
-
ดาวพักร เสริด มนท์
-
หนังสือที่ยายมี
-
บทเรียนทางไปรษณีย์ อ.อรุณ ลำเพ็ญ
-
โหราศาสตร์ไทย ระบหมอเถาว์(วัลย์) ปีที่2
-
โหราปรัชญา อาจารย์ ส. แสงตะวัน
-
เผยความลับโหราศาสตร์
-
บทความพิเศษทางโหราศาสตร์ เล่ม ๑.
-
บทความพิเศษทางโหราศาสตร์ เล่ม ๒.
-
ตำรา อาจารย์ยอดธง ทับทิวไม้
-
ตำรา อาจารย์ประทีป อัครา
-
จากสมุดอนุทินของโหรชุบ
-
เคล็ดลับของสัตตเลขพยากรณ์
-
เจ็ดตัว โดยพระมหาบรรเทา
-
-
กำเนิดดวงอาทิตย์
-
กำเนิดวันสงกรานต์
-
เก็บเกร็ดจากตำนาน
-
เรื่องเล่าจากหลวงพ่อฯ
-
มงคล เสริมดวง
-
สวดมนต์ เสริมดวง
-
บทสวดมนต์
-
พระคาถาเงินล้าน
-
บทสรรเสริญครู
-
บทชุมนุมครู
-
คาถา อาราธนาอัญเชิญพระและเทพฯ
-
บทชุมนุมธาตุและตั้งธาตุ
-
พระคาถาปลุกธาตุทั้ง๔ ให้ศักดิ์สิทธิ์
-
บทคาถา มหาเย็น
-
คาถา ขอฤทธิ์
-
คาถา ขอพบครูพระเทพโลกอุดร
-
บทเชิญอาคมสู่ตน
-
พระคาถา เรียกคน
-
คาถา เรียกคน (เรียกลูกค้า)
-
พระคาถา เรียกคน
-
คาถาเรียกหัวใจคน
-
พระคาถาชินบัญชร
-
พระคาถาของสมเด็จพระพุทธกัสสป
-
คาถาเรียกบารมี
-
พระคาถามหาเสน่ห์
-
พระฉิมพลีให้ลาภ
-
พระอุปคุต/พระบัวเข็ม
-
พระสิวลี/พระฉิมพลี
-
-
ยังไม่ได้เขียนฯ
-
ทำไมพระราหูถึงมีกายครึ่งท่อน
ทำไมพระราหู(๘) จึงมีกายครึ่งท่อน
มีเรื่องเล่าว่า เมื่อครั้งที่เหล่าเทวดาได้ทำพิธีกวนเกษียรสมุทรเพื่อให้ได้น้ำอมฤตนั้นมีทั้งเทวดาและอสูรทั้งหลายเข้าร่วมทำพิธี พระราหูได้แอบอยู่ในกลีบเมฆ เมื่อทำพิธีสำเร็จ เหล่าเทพและอสูรได้ยื้อแย่งน้ำอมฤตกัน พระวิษณุทรงแปลงกายเป็นนางโมหิณี เพื่อแบ่งน้ำอมฤต พระราหูจึงรีบแปลงกายเป็นเทวดา แล้วลอบดื่มน้ำอมฤตที่เกิดขึ้นนั้น พระอาทิตย์และพระจันทร์ได้เห็นเข้าจึงรีบเอาความนั้นไปทูลบอกพระวิษณุกรรม
พระวิษณุทรงทราบจึงขว้างจักรสุทรรศนะตัดไปถูกกลางตัวพระราหูขาดกลายเป็นสองท่อน แต่ด้วยว่าน้ำอมฤตที่พระราหูได้ดื่มนั้นไหลไปจนถึงกลางตัวพระราหูแล้วพอดี ครึ่งบนของพระราหูที่ถูกตัดออกจึงกลายเป็นอมตะ และส่วนครึ่งล่างนั้นได้กลายมาเป็นพระเคราะห์องค์ที่ ๙ แห่งเหล่าเทวดานพเคราะห์ ก็คือพระเกตุ
แต่ถ้าในทางคติฮินดู จักรนั้นตัดที่คอของราหู ส่วนหัวคือพระราหู ส่วนตัวคือพระเกตุ บ้างก็ว่าพระศุกร์ได้นำนาคมาผ่าเป็น ๒ ส่วน เพื่อมาต่อให้ราหูและเกตุ พระราหูมีหัวเป็นอสูรตัวเป็นเทพนาค พระเกตุมีหัวเป็นเทพนาคตัวเป็นอสูร จากนั้นเมื่อครั้งใดที่พระราหูได้พบเจอพระอาทิตย์หรือพระจันทร์ พระราหูก็จะจับมากลืนกินด้วยความโกรธแค้นที่เทวดาทั้งสององค์นำเรื่องไปทูลพระนารายณ์ แต่อมไว้ในปากได้ไม่นานก็ต้องคายออกมาเพราะทนความร้อนและรัศมีของเทวดานพเคราะห์ทั้งสองไม่ได้ เกิดเป็นเหตุของปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา ตามคติความเชื่อของคนโบราณ
สรุป : ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ พระราหูไม่ชอบ พระอาทิตย์และพระจันทร์ ยามจรมากุมกันมักมีเหตุ มีเรื่องราวเสมอๆ ตามโหราศาสตร์
ที่มา : https://th.wikipedia.org/พระราหู