การวางจุดศึกษาวิชาการโหราศาสตร์

    การวางจุดศึกษาวิชาการโหราศาสตร์ โดย บร. วรรณวิจิตร 
  
 
  การวางจุดศึกษาวิชาการโหราศาสตร์  
 
วิชาการโหราศาสตร์เป็นวิชาที่ประกอบด้วย ความรู้ภาคทฤษฎีเป็นพื้นฐาน อย่างละนิดอย่างละหน่อยที่ควรทราบก็เล่นเอาเพียบ ไม่ใช่เล่น หากจะคว้ามาเป็นหลักนำเต็มๆหลัก "แก่จนตะบันน้ำกิน" ก็ไม่มีทางจะพยากรณ์ได้เลย เพราะมัวแต่ห่วงข้อแม้เล็กๆ น้อยๆ และยังบรรจุด้วย สรรพวิชาอีกหลายชนิด อย่างฝึกหักเล่นๆ ก็กินเวลาสามปี สำหรับมี ความจำแม่นยำว่องไว 

คัมภีร์ในหลักโหราศาสตร์ เท่าที่ทราบมีอยู่ด้วยกัน ๓๕ - ๓๗ ปกรณ์(เฉพาะหลักใหญ่อาจกว่านั้น รากฐานอื่นที่ จะประกอบกับวิชาภาคทฤษฏีคือ 
   ๑. ภาคคำนวน … ท่านต้องทราบวิธีของ คณิตศาสตร์ เพราะมีวิธีบวกลบคูณหาร ตั้งแต่เลข ๒ ตัวจนถึง หลักล้านๆ 
   ๒. ดาราศาสตร์... ต้องดูดาวบนฟ้าเป็นด้วยว่า นพเคราะห์ส าคัญ และกลุ่มดาว นักษัตร ส าคัญอยู่ส่วน ไหนของจักราศีเบื้องบน มิฉะนั้นท่านจะถูกลวงให้เสียชื่อนักวิชาการหมด ถ้ามัวแต่ดูปฏิทินเขาขาย ดาวฤกษ์มีกลุ่มละกี่ ดวง เป็นรูปอะไรในสายตา ไทย-เทศ ๓. อักษรศาสตร์ หรือ นิรุกต ... เพื่อให้รู้ที่มาของรากศัพท์ ก าเนิดของค าต่างๆ เพราะค าร้อยกรองของ โหราศาสตร์มักเป็น ฉันท์ กาพย์ กลอน โคลง และมีค าต่างภาษาพันทางอยู่ ตามรูปค าของ กลอนพาไป หาก ตีความหมายผิด การพยากรณ์ก็พลอยผิดด้วย อย่าว่าแต่ค าเทศเลย แค่ค าไทยแต่ละท้องถิ่นก็แย่แล้ว เช่น ปรหยาม ขยางค์ ๔. ภูมิศาสตร์... คงพอหาเครื่องประกอบได้ง่ายขึ้นหน่อย อย่างน้อยก็จัดทิศทางได้ถูกต้อง เป็นเ รื่องต้องทราบ ความแตกต่างของถิ่นฐานและผิวพรรณ กล่าวคือ ,,, ชาวราศีมิถุนนั้นขาว แต่บางท้องถิ่นที่นั่นเป็นถิ่นคนด า เราจะเอา พระเคราะห์อะไรมากุมลัคนา จึงมีโอกาสขาวได้ ๕. ประวัติศาสตร์... ทั้งเก่าทั้งใหม่เพราะเกี่ยวกับสถิติที่เป็นพยานพิสูจน์ของผลและค้นการ "ซ้อนรอย" ๖. สรีรศาสตร์... คือร่างกายทุก ๆ ระบบ เพื่อประกอบค าพยากรณ์ หามูลธาตุที่ขาด ท าให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ รวมไปถึงลักษณะตัวตน ที่เราได้สมมุติฐานเป็นลัคนา แต่ลัคนากลับถูกอุปโลกน์ไปเป็นประธานแห่ง "จักรวาฬชีวิต" เพื่อ ไว้ก าหนดภพเรื่องราวต่างๆ ที่เข้ามาใกล้จุดดวงชะตา ๗. กัลป … ว่าด้วยกรรมวิธีประกอบฤกษ์ "ฤกษ์" แปลว่า คราว เวลา ซึ่งกล่าวโดยเฉพาะหมายก าหนดการ มงคลหรืออื่นๆ ตามจุดแต่ละกาลเวลา 2 ๘. วิทยาศาสตร์ ... เป็นวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร? เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ที่ว่าด้วยกาลเวลาและกฏ ควบคุมของธรรมชาติๆ ก็ข้องเกี่ยวด้วยนพเคราะห์ ที่ถือกันว่าเป็นวิทยาศาสตร์อย่างหนึ่ง แต่ไม่ใช่ชิ้นส่วนของเคมีที่ผสม แล้วเป็นกลุ่มก้อน เพราะอยู่ในอ านาจนพเคราะห์ โดยการดึงดูดก็ดี โดยแรงส่งจากโลกธาตุก็ดี การวางจุดในภาคพยากรณ์ วิชาโหราศาสตร์ภาคพยากรณ์ ก็ต้องค้นคว้าติดตามไม่น้อยหน้ากัน แต่สังเกตุสังกาให้มาก อย่าติดต าราจน เข้าข้างเพราะยังไม่ทราบว่า อย่างไหนเป็นต ารา อย่างไหนคือ”บันทึกความจ า” มีเรื่องพิศวงพอควร เพราะ"เชิงซ้อน" ของต าราดูสับสนอยู่ เช่น เสาร์เป็นธาตุดินในจักรราศี แต่เป็นธาตุไฟในในภูมิทักษา พฤหัส ธาตุไฟและน้ าในจักรราศี แต่เป็นธาตุดินในทักษา จันทร์เป็นกาลีเรือนราศีเมษ แต่ปราบดาภิเษกเป็นมหาจักรง่ายๆ เพราะอะไรล่ะ? ติดตามต่อไปก็พบค าอธิบายเรื่องนี้ กล่าวคร่าวๆ พอเป็นจุดขึ้นต้นภาคพยากรณ์ไว้ก่อน อาทิตย์เป็นห้า กับลัคนา ว่าเป็นพินธุบาต แต่แล้วก็กลายเป็น "ราชเกณฑ์" ค าๆ นี้จะออกแขก-ไทย ก็ชักยุ่ง ปัจจุบันเราศึกษากัน แบบได้อะไรคว้าอย่างนี้ ไม่มีใครแยกประเภทไว้ให้เป็นแบบฉะบับการเล่าเรียนชนิด "วิทยานิพนธ์" หรือต าราส าเร็จแบบ "โหรานุกรม" ไถ่ถามผู้รู้ท่านก็ให้แบบคนคล่อง ผู้ที่ศึกษาด้วยตนเองมาก่อน พบคั่น ตอนเฉพาะแต่ตัวหนังสือที่เป็นเครื่องมือเรียน ไถ่ถามอาจารย์ ท่านก็บอกรวมๆ กัน มิได้แยกส่วนว่าเหตุไร พระเคราะห์ ต าราจึงขัดเขินกันเองไปอีกแบบหนึ่ง เช่นผู้เกิดวันอังคาร มีพฤหัสเป็นศรีในแบบทักษาพยากรณ์ เมื่ออยู่ในดวงจักรเมื่อศรีโคจรมาทับลัคนา แทนที่จะ ดีน้อยไปหรือเพราะเป็นศุภเคราะห์ น่าจะให้คุณ กลับกลายย่อยยับไปเลยก็มีอย่างเบาๆ ก็ฉิบหายนานาประการ หากเราน าข้อสงสัยเหล่านี้ ไปถามท่านผู้รู้ต่อ ค าตอบที่ดีที่สุดก็คือ ดีเกินธรรมดาเป็นผู้คนไม่ได้ ดูไร้เหตุผลจริง ท่านไปน าคณิตศาสตร์มาประกอบต่อดื้อๆ ว่า "ลบ-ลบเป็นบวก" ก าปั้นทุบดินเป็นบ้าเลย... หากศิษย์ไม่เกรงใจไป ถามต่อเข้า ก็โกรธจนไม่มองหน้าหาว่าไล่ภูมิ การศึกษาก็ชะงักงันเพียงนั้น พอดี-พอร้าย เกิดมีก้นกุฏิ ข้างซ้าย ข้าง ขวา เขม่นซ้ าต้องวางมวยกัน ก็เคยเห็นมาแล้ว เคยคุยกับภิกษุรูปหนึ่ง ท่านเล่าให้ฟังว่า ในอินเดียเขามีอาจารย์สอนเป็นภาค ฝ่ายผู้สอน จะถามผู้เรียนว่า จะ เรียนภาค พระเคราะห์นิยมหรือเทวดานิยม ค าถามแบบนี้ท าให้ได้คิดไปไกลทีเดียว หากเรียนภาคพระเคราะห์นิยมก็คือ วิชาดาราศาสตร์ มีก ฎเกณฑ์เชิงมุมต่างๆ ส่วนเทวดานิยมนั้นง่ายหน่อย เพียงจดจ านิทานเป็นร้อยๆ เรื่องได้ แต่ที่เห็นเกลื่อนนั้นมี ๑๒ เรื่องอย่างท้องตลาดเมืองไทยเรามีมาก กล่าวคือ ว่าด้วยชาติเวรของพระเคราะห์ต่างๆ ฟังดูเข้าทีดี จึงกล่าวฝากค าเข้าใจไว้เพราะที่เรานิยมกันเวลานี้ ส่วนมากเป็นเทวดานิยม เพราะถนัด ทักษาพยากรณ์ เป็นส่วนใหญ่ แต่ผู้เขียนก็เห็นมันมีคู่กันอยู่นั้นแหละ ไม่รู้จะแย ก 3 หรือเปล่า แบบพื้นๆ ยกให้รอบจักรรอบนวางค์ส าเร็จรูป แขกเรียก "มหาทศษา" ไทยเรียกมหาทักษา กล่าวคือ เทวดา ถวายอายุนั้นเอง ส่วนพระเคราะห์นิยมล้วนๆ ไม่มีปนเป เหมือนที่เห็นอยู่ ก็มักใช้พระเคราะห์ล้วนๆ มีองศาเป็นเครื่องประกอบ วัดมุมสัมพันธ์เพื่อรู้ มุมหักและมุมต่อเชื่อมโยงจนกลายเป็น "อนาคต" บางรายท่านก็ใช้ไปเพลินๆ แบบดวงอีแปะล้วนๆ ท่านที่นิยมแบบนี้โดยมากเท่าที่พอเข้าใจเป็นลีลาที่ใช้อิทธิพลพระเคราะห์บังคับมา จัดระยะระดับของดาว แล้วเรียกวิธีนี้ กันในหมู่นักนิยมเดียวกันว่า รัศมีหรือแสง จะเกี่ยวกับรัศมีแสงหรือเปล่า ท่านลองใช้วิจารณญานดู ความจริงที่สุดก็มีอยู่ว่า นิทานก็มีส่วนสร้างความจดจ าได้ ให้เบาสมองขึ้น แล้วก็เหมาะกับภูมิง่ายๆ ของแต่ละ บุคคล นิทานตอนหนึ่งก็สร้างเรื่องพยากรณ์ตอนหนึ่ง ประหยัดสมองไว้จ าอย่างอื่นก็ดี แต่กระนั้นแล้วก็ยังเห็นผู้นิยมสั บ นิทานกันอยู่บ่อยๆ อาจเป็นเพราะไม่เข้าใจซึมซาบหรือขาดการสังเกตุก็ไม่รู้ซิ เพราะกี่หนกี่หน ก็ชักชวนให้พระจันทร์ มาเป็นชู้กับอังคารร่ าไป ไม่มีเวลาพักผ่อนเลยหรือ กี่ครั้งๆ ก็จะให้ราหูมาทวงหนี้กับพระจันทร์ไม่จบสิ้น ก็เหมาะกับ ชีวิตสภาวะ ปัจจุบันนั้นขึ้นก็หนี้ ลงก็หนี้เหมือนกัน ตั้งแต่ชีวิตคนเดินถนนถึงผู้มีกิจการเป็นเรื่องราวใหญ่โต และรัฐบาลก็ พลอยติดเชื้อเป็นหนี้เขาไปไกลถึงต่างประเทศ ก้าวหน้าเป็นบ้าเลย ท่านอย่าคิดดูหมิ่นนิทาน เห็นว่าเป็นต าราที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ ก็ไม่ใช่ต าราวิจิตรพิศดารมาจากไหน นอกจากไป พรางศัพท์ที่ควรเข้าใจง่ายให้เกิดยากสับสนขึ้นมา ท าให้เกิดฉงนฉงายเป็นปริศนาส่วนตัวแต่ละท่านเท่านั้น และแล้วก็ เป็นนิทานสิบสองเรื่องที่เราพบกันเพื่อเรื่องนี่แหละ โหราศาสตร์เป็นวิชาละเอียดอ่อน ที่ยังไม่มีใครคิดแยกแยะให้แจ่มแจ้งได้ เราจึงยังขาดเค รื่องวัดที่แน่นอน มี บางท่านพอจะรู้มั่นแน่สักสองหรือสามข้อ ขอก็ไม่ให้ เพราะกลัวบาปหรือกลัวลาปก็ไม่ชัด ผิดธรรมดาของมนุษย์จริงๆ สู้ อุตส่าใช้ค าหรูๆ ว่า วิทยาทาน แล้วเชียว ลางท่านว่าสอนวิชาโหรแล้วบาป ไม่ทราบว่าท่านเรียนมาแต่ไหน ที่รู้มั่นรู้คงแล้วไม่บาป อยากติดตามเบาะแส ไปเรียนกับเขาบ้าง.... ลางท่านก็กลัวศิษย์จะละเมิดศีลธรรม(น่ารับฟัง) เพราะวิชานี้เป็นวิชาคู่บ้านคู่เมือง เป็นวิชาชั้นสูง เพราะข้องเกี่ยวกับต าราพิชัยสงครามบ้าง เป็นแผนเสนาธิการ กษัตริย์ นักรบ และผูกพันกับนิมิตเบ็ดเตล็ดอีกมากมาย จริงๆ นะ ที่เห็นที่หวงกันอยู่เดี๋ยวนี้เพราะไม่รู้จะให้อะไรอีกนะ ตามธรรมชาติ คนเราที่หากินเกี่ยวข้องกับ ข้อเขียนโหร ก็อยากให้ประจักษ์ฝีมือลือลั่น เสียดาย ที่ท่านรู้แล้วมาหวงเบี้ยวและหักมุมไว้หลบๆ ต าราพิกล เพราะไม่ได้ มักน้อยสันโดษเข้าป่าดงพงพีไปใน เมื่อบ้า นเช่าข้าวซื้อ ท่านก็ต้องมีหมายก าหนดการระยะยาว แบบกักตุนสินค้าไว้ เพื่อให้คุ้มราคากระมัง มิฉะนั้นก็กลัวหมด ไม่มีสอนอีกแหละหนา มีอะไรบ้างที่ควรจะฝึกในภาคพยากรณ์หะแรกคุณก็ควรหาโหรานุกรมอ่าน หากไม่มี ผู้เขียนก็จะให้ไว้สัก เล็กน้อยเท่าที่คิดได้ เพราะโหรานุกรม ถ้าจัดสมบูรณ์แล้วใช้เวลามากขี้หลงขี้ลืมไม่ได้ความดอก 4 ก่อนจะเข้าโหรานุกรม(หรือปทานุกรมเฉพาะโหร) ก็ขอย้ าอีกหน่อยว่า... วิชาโหราศาสตร์ เป็นวิชาลึกซึ้งละเอียดอ่อน การที่จะเรียนวิชานี้ท่านจะต้องวางใจเป็นกลางไว้เพราะสถิติต้อง วิวัฒนาการขึ้นเรื่อยๆ ท่านจะ น ามาเป็นบรรทัดฐาน ได้อย่างไร้ความสมบูรณ์ละหรือท่าน ? หลักวิชาการเก่าที่มีอยู่ก็ยัง ไม่ใช่ "สูตร" ทีเดียวเหมือนบวกเลขว่า สองบวกสอง ต้องเป็นสี่ โวหารส านวนการบันทึกวิชาที่ชวนไขว้เขวได้ง่าย เพราะ พลางศัพท์ไว้คลุมเครือฯ อนึ่งโหราศาสตร์ที่มีต ารา อยู่เกือบทั่วโลก ทุกแห่งก็ยังไม่พบความสมบูรณ์ ฉบับแม้แต่ฉบับเดีย ว อาจารย์ท่านก็ จับแพะชนแกะของท่านไปเรื่อยๆ เพื่อให้จบข้อเขียน แต่ไม่จบต ารา ลักษณะการเขียนก็ครึ่งๆ กลางๆ "กึ่งต ารา กึ่ง ความเห็น" ยิ่งสมัยนี้ด้วยแล้วยิ่งมีรูปเรื่องเป็นบทความชนิดยาวมากกว่า แม้แ ต่ในฉบับนี้เอง ผู้เขียนก็ไปเที่ยวตัดต าราที่ หายากมาฝาก เห็นใจผู้อ่านขี้ง่วง เลยอรรถาธิบายไปตามความรู้(แค่เห็นและพบมา) จะพึงมี ผู้เขียนเองก็มีต าราอยู่ในมือ ๗๐ กว่าปกรณ์แต่หารู้เรื่องหมดไม่... ได้กล่าวไว้แล้วว่า ขืนเรียนภาคทฤษฎีล้วนๆ แก่ใกล้โลงก็พยากรณ์ ไม่ได้ อย่างดีแค่พอรู้เรื่องเท่านั้น ใคร พยากรณ์ได้ ๕๐ เปอร์เซนต์ขึ้นไปเป็น "ยอดหมอ" เหมือนเราไปเสี่ยงเซียมซี มีข้อความท านายยาวๆ หกเจ็ดข้อเกิด "ถูก จุด" จุดปรารถนาข้อเดียวตามอธิฐานก็นึกว่า "เจ้าพ่อ เจ้าแม่" แม้นแม่นหลายเน้อ! สมัยนี้คนดูดวงชะตากันมาก จนพอรู้ภาษาโหร-หมอ เถียงกับผู้พยากรณ์ จนคอขึ้นเอ็นเพียงแต่ "ลัคนา" มัน เกิดผิดเพี้ยนยักเยื้องไปจาก ความเชื่อถือเดิม ส่งเสียงฉอดๆ ว่า หากลัคนาฉันอยู่ตรงนี้ ท าไมจันทร์ทับลัค ไม่มีลาภ หรือเข้าเรือนลาภะ ยังเสียเงิน ฯลฯ พอดี - พอร้าย หมอตอบไม่ถูกเพราะโกรธหรือเพราะจนไม่รู้ละ ที่คล่องหน่อยก็แก้ ตัวไปน้ าขุ่นๆ "ก็หมอว่าตามต ารานะนี่" (โยนความรับผิดชอบเสียนี่) เราท่านก็พบกันมาบ่อยๆ หรือโดนเข้ากับตัวเองบ้าง ก็ไม่รู้ ดวงชะตาชีวิตคน มักจะค้านกับต าราอยู่ทุกบ่อยเพียงใด อย่าไปโทษใครผิดใครถูกเลย เป็นเรื่ องของวาระสมัย ที่ต่างวาระกรรมกัน "รอบของพระเคราะห์ ท าให้เกิดเหตุและไม่เกิดก็ได้ ที่ท่านพูดคล่องแก่หลักการหน่อย "เคยว่าผู้เขียน ชอบทิ้งหลักครูโบราณ" บาปจะกินหัว "ก็เถียงเอ็นคอขาด ใครเขาจะทิ้งหลักครูได้? การดูหมอมิใช่รู้แค่เกษตร รู้อุจจ์ แล้วจะพยากรณ์ได้ ชนิดไม่มีต าแหน่งเลยก็ยังพยากรณ์กันไหวเลยแน่ะ... อาจารย์ท่านรจนา เผื่อเหลือ เผื่อขาดไว้แล้ว ถ้าขืนหอบหลักเหมือนบ้าหอบฟาง ก็จะรุงรังตัดสินไม่ได้ อุปมา เหมือนเราจะข้ามคูคลอง ด้วยสะพานไม้ไผ่เพียงล าเดียว หะแรกก็ใช้ไม้รวกพยุงค้ ายันก่อน จนกว่าจะตั้งตัวติดได้ จึงข้าม ส าเร็จ เมื่อประพฤติช านาญแล้ว ยังมัวเที่ยว หอบหลักไปด้วยแล้ว เอาไปซุกซ่อนปิดบัง ผู้มาทีหลังก็ไม่มีโอกาสใช้หลัก ต้องสร้างกันขึ้นใหม่ ตนเองก็รุงรังกับหลักจนไม่มีมือถือ ไปหยิบฉวยอย่างอื่นพลางๆ 5 โหราศาสตร์ไทยหรือเทศมักมี "จุดถนัด" ของตนไปแต่ละแบบ ท่านที่ "หัวนอก" จึงนิยมแบบหลักการตายตัวอย่างของ สากลเขา ถึงกระนั้นผู้เขียนก็เชื่อว่า หากนักโหราศาสตร์ผู้นั้นเป็นคนไทย อดไม่ได้ดอก ที่จะมีจุดพิเศษที่ตนถ นัดอยู่ นอกเหนือไปบ้าง เพราะก ฎของสากลเขาเท่าที่ทราบ(ไม่ชัด) เขาต้องการความพร้อมเพียงของ "เชิงมุม" และธาตุจึงจะ พยากรณ์ แบบทางเอเซียเฉพาะโหรไทย จะมารูปไหนพร้อมไม่พร้อม "พะ" ได้เรื่อยๆ อาทิเช่น โหราศาสตร์จีน พอเห็น ลัคนาคน(โหงวเฮ้ง) ก็กินดิบเสียก่อนแล้ว ท่านอย่านึกว่า การดูลักษณะมิใช่วิธีการโหราศาสตร์เชียวนา นักโหราศาสตร์นั้นจะมีวิธีพยากรณ์พลิกแพลงทุกระบบ "ของไทยเรามีวิธีดูคุณลักษณะเกินห้าอย่าง" ของ จีนก็มิใช่ต้องการเพียงห้าอย่าง หมายถึง เป็น อย่างที่เราจะต้องมีคุณสมบัติที่สังคมทั่วไปต้องการ เป็นพอกับฐานานุรูป "วิธีที่หมอดูครบครันก็คือโหราศาสตร์เท่านั้น" จึงยากนักหนาและท้อตามๆกันแล้วเพราะต้องรู้ ๑. โลกศาสตร์ ๒. จักรวาฬ ๓. จักรราศี(ที่จริงและสมมุติ) ๔. ดวงดาวหรือดาราศาสตร์ ๕. ภูมิประเทศ ๖. สรีระวิทยา (ไม่ว่าระบบภายนอกและภายในของร่างกาย ฯลฯ ๗. คณิตศาสตร์ ๘. วิทยาศาสตร์ ๙. นิรุกต์ศาสตร์ ๑๐. วิทยาการในระบบความถี่ และคลื่นรังษีขนานแท้ และยังรวมตั้งแต่ต้นไม้ใบหญ้าจนถึงกระแสร์ไฟฟ้า แม่เหล็กวัตถุธาตุทั้งมวล จา รีตนิยมเกี่ยวกับพิธี ก็แต่ละ ฝ่ายละแบบกันไป ลางท่านยังให้สอดรู้สอดเห็นไปถึงทั่วแผ่นดินหรือต่างแดนอีก เช่นในกวีนิพนธ์ส านวนหนึ่งกล่าวว่า "อนึ่งเล่าหลวงพระโหร.... ที่รอบรู้ต าหรับแผน ดาวเดือนตะวันแดน และดวงจักรขบวนบน แจ้งสุขทุกภัย ในต่ าใต้แผ่นดินดล 6 จึงจะพจน์นิพนธ์ นิพันธ์พากย์ต าราฯ" หากฟังเพียงเพราะเผินๆ ก็นึกว่ารู้ดาวรู้เดือนแล้วจะประพันธ์ต าราได้ เคยได้ยินรู้กล่าวความเท่ านี้ ไม่ทราบว่า ท่านจะอมภูมิหรือเปล่า ที่ท่านมิได้ต่อฉบับโบราญเสียให้แล้วๆ ไป ผู้เขียนว่าโบราณอาจารย์ท่านไม่ท าอะไรตื้นๆ เพียงนี้หรอก เพราะสืบประวัติคร่าวๆ ก็มีความ เห็นเป็นเอกเทศว่า โหราศาสตร์เกี่ยวข้องกับวิชา “ยุทธศาสตร์” และ รัฐศาสตร์บางอย่าง เดิมๆ เขาไว้ดูดวงโลกกัน ต่อมาก็เลยเถิดไป เป็นวิธีการของ พิชัยสงครามไว้ใช้เป็นคู่มือนักรบหรือ กษัตริย์ ดังกล่าวแล้ว ลองมาแก้กระทู้ทีละตอน ท่านคงเห็นด้วยกับผู้เขียนที่กล่าวมา อนึ่งเล่าหลวงพระโหร ที่รอบรู้ต าหรับแผน? กล่าวคือ ผู้รู้ในแผนโหราศาสตร์ จากต าราอันเจนจัด ดาวเดือน, ตะวัน, แดน, และ ดวงจักร, ขบวนบน กล่าวคือ กล่าวถึงว่า โหรที่รู้เรื่องนพเคราะห์ แต่มีความ หมาย เป็นปฏิทินนัดพบ เพราะมีมื ดสว่าง เป็นที่ สังเกตุได้ง่ายเกี่ยวกับขึ้นแรมดิถี เพื่อประกอบ ฤกษ์พานาทีและอื่นๆ ที่เกิดปฏิกิริยาจากจันทร์โคจร ไม่ว่าจะเป็นน้ าขึ้นลง หรือเป็นแรงผลักดันให้พระเคราะห์เกิดมีอ านาจพลังเป็นไปตามอิทธิพล ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ตะวัน คือ วิธีคิดปฏิทินทางสุริยคติ โบราณและปัจจุบัน โดยหมายตากลาง (ช่วงดวงจักรสมมุติ) ว่าอาทิตย์ได้ โคจรราศีต่างๆ นั้น ได้กี่องศาแล้ว ก็เป็นวันที่เท่านั้นของราศีนั้นนี้ โบราณท่านจึงเรียกดวงอาทิตย์ว่า ตะวันหรือตาวัน ซึ่งเป็นขีดเครื่องหมายอาทิตย์ตามนี้ แดน, คือ ภูมิพยากรณ์ หรือ “เกษตร” และกว้างกว่านั้น คือเป็นค าที่จ ากัดและไม่จ ากัดประเทศ จะกล่าวถึงท้องถิ่นใด ต้องพอรู้แจ้งเห็นจริง ว่าประเทศเผ่าพันธุ์ของเจ้าชะตาขึ้นอยู่กับทิศทางไหน? “ดวงจักร ขบวนบน” คือเรื่องจักรราศีอยู่ในรูปย่อสมมุติไว้ให้ดู มีต าแหน่งสมมุติอุจจ์ เกษตร ฯลฯ อย่างไร ? ในรูปดวงจักร และบนท้องฟ้าเกี่ยวกับดาวฤกษ์นพเคราะห์ คืออะไร ขบวนคือ กลุ่มแถว ที่พระเคราะห์โคจรผ่าน กล่าวคือ กลุ่มดาวนักษัตร์ดาวฤกษ์” แจ้งสุขทุกขภัย ในต่ าได้ แผ่นดินดล? ประเทศไหนจะเดือดร้อน ทิศไหนจะเป็นอย่างไร เมื่อมีเหตุที่จะอุบัติขึ้นต้องรู้ ใครจะรบราฆ่าฟันกันที่ไหน อย่างใด เมื่อไหร่ ....! โหรโบราณท่านเรียนทั้งนั้น หรือนัยหนึ่ง แดน คือ ประวัติทักษาหรือ ภูมิพยากรณ์ เพื่อทราบที่มาของประวัติทักษา .. ภูมิพยากรณ์ เพื่อทราบที่มาประวัติพระเคราะห์ ประกอบส านวนทายว่า พระเคราะห์เป็นใคร มาจากไหน ชาติสกุล ? และเมื่อเทียบจักรราศีมีต าแหน่งเป็นเกษตร ย่อมความมาแก้กระทู้ท่อนนแล้วคงหายสงสัย...
 
ที่มา: https://sunwasa.files.wordpress.com/
 
 
 
#คุณยายกลิ่นโสม
#เรียนโหราศาสตร์ด้วยตนเอง .. ได้ที่ ..
#บ้านคุณยายกลิ่นโสม
#baankhunyai.com


Visitors: 172,199